ศาสตราจารย์พรสรรค์  วัฒนางกูร

ราชบัณฑิต   โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐  สาขาวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ  ประเภทวิชาวรรณศิลป์  สำนักศิลปกรรม

ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา

                    –   กรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ดนตรีสากล
                    –   ผู้เชี่ยวชาญทางภาษาในคณะกรรมการปรับปรุงหลักเกณฑ์การทับศัพท์ (ภาษาเยอรมัน)
                    –   กรรมการในคณะกรรมการเผยแพร่ผลงานวิชาการของราชบัณฑิตและภาคีสมาชิก
                        เป็นภาษาอังกฤษ

ประวัติการศึกษา

                    –   อักษรศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม) (ภาษาและวรรณคดีเยอรมัน) จุฬาลงกรณ์
                        มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๑๖)
                    –   อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (ภาษาเยอรมัน) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๑๙)
                    –   Magister Artium (M.A.) Ruprecht-Karls University Heidelberg, 1980
                    –   Dr.phil (ภาษาศาสตร์ประยุกต์ วรรณคดี ดนตรี) Ruprecht-Karls University
                        Heidelberg, 1985

ผลงานวิชาการ

                    –   ตะวันออกในตะวันตก-พุทธศาสนาในต่างแดน, โครงการพัฒนาวิชาการ จุฬาลงกรณ์
                        มหาวิทยาลัย ผลงานวิจัยโครงการพุทธศาสนาในวรรณกรรมโลก, ๒๕๕๘
                    –   Der Buddha inder dcutschen Dichtung (ภาษาเยอรมัน), สำนักพิมพ์วัลชตายน์,
                        ๒๕๕๗
                    –   สองยุคแห่งวัฒนธรรมไวมาร์, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, (ภาษาไทย)
                        (๒๔๔ หน้า), ๒๕๔๓, พิมพ์ครั้งที่ ๒, ๒๕๕๓
                    –   ความสัมพันธ์ระหว่างราชอาณาจักรสยามกับราชสำนักยุโรปในเอกสารการเสด็จประพาส
                        ยุโรปครั้งแรกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. ๒๔๔๐, งานวิจัยรางวัล
                        “คัมทา” กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช, พ.ศ. ๒๕๕๒
                    –   “คลาสสิกยุโรปและคลาสสิกในวรรณกรรมไทย”, ใน วารสารอักษรศาสตร์,
                        มกราคม-มิถุนายน, ๒๕๔๓, ๘๒-๑๑๗. และใน: ธีระ นุชเปี่ยม (บรรณาธิการ) จาก
                        ตะวันออก-ตะวันตก สู่โลกาภิวัตน์ทางปัญญา โครงการเอเชีย-ยุโรปศึกษา สนับสนุนโดย
                        สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว), ๒๗-๖๘. และใน Proceedings การประชุม
                        นานาชาติด้านอักษรศาสตร์เยอรมันครั้งที่ ๑๑ มหาวิทยาลัยปารีส IV (Sorbonne), ปารีส
                        ฝรั่งเศส ๒๖ สิงหาคม ๓ กันยายน ๒๕๔๘, เล่มที่ ๑๑, ๒๕๕๐. ๑๑๑-๑๑๗.
                        (ภาษาเยอรมัน ฉบับสั้น)
                    –   การเดินทางข้ามพรมแดน จากวรรณกรรมสู่แผ่นฟิล์ม.โธมัส มันน์ “ความตายที่เวนิส”
                        สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๒
                    –   จากความคิดสู่ภาษา-การเรียงลำดับคำในข้อความในแง่ภาษาศาสตร์จิตวิทยา. งานวิจัย
                        สาขาภาษาศาสตร์จิตวิทยาเพื่อเพิ่มความสามารถในการเขียนภาษาเยอรมันของนักศึกษา
                        ไทย,
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔ (ภาษาไทย) (๑๘๐ หน้า)
                    –   Die Selbstverwirklichung Fausts aus buddhistischer Perspektive (การพิสูจน์
                        อัตตาของเฟาส์จากมุมมองทางพุทธศาสนา), ใน : Jahrbuch Deutsch als
                        Fremdsprache 28, 2002. มิวนิค: สำนักพิมพ์ iudicium, ๒๔๔๗, ๕๓-๖๘.
                        (ภาษาเยอรมัน ฉบับเต็ม) และ Pornsan Watananguhn, Faust’s Self-realization
                        from a Buddhist Perspective, in: MANUSYA Journal of Humanities, Vol.4,
                        No.1, มีนาคม ๒๕๔๔, ๗๘-๙๐.
                    –   ชุดหนังสือ ๑๕๐ ปีความสัมพันธ์ไทย-เยอรมัน โครงการของกระทรวงการต่างประเทศ
                        ไทยเพื่อฉลองครบรอบ ๑๕๐ ปีความสัมพันธ์ทางการทูตไทยเยอรมัน (๑๔ เล่ม), ๒๕๕๕,
                        ๒๕๕๖, ๒๕๕๗.

เกียรติคุณที่ได้รับ

                    –   Bundes verdientskreuz am Band จาก Bundespresident โยอาคิม เกาช์
                        (Joachim gauch) สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
                    –   ศิษย์เก่าดีเด่น “เพชรเม็ดงาม” โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย

เครื่องราชอิสริยาภรณ์                     มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก