ภาคีสมาชิก แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๓ สาขาวิชาตันติภาษา ประเภทวิชาวรรณศิลป์ สำนักศิลปกรรม
ประวัติการศึกษา
– ปริญญาตรี เปรียญธรรม ๙ ประโยค สาขาวิชาภาษาบาลี, สถาบันการศึกษาคณะสงฆ์ไทย
สำนักเรียนวัดดาวดึงษาราม, กรุงเทพมหานคร, พ.ศ. ๒๕๓๐
– ปริญญาตรี พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศาสนา (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง), มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร, พ.ศ. ๒๕๓๒
– ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาสันสกฤต, มหาวิทยาลัยศิลปากร,
กรุงเทพมหานคร, พ.ศ. ๒๕๓๕
– ปริญญาเอก ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Ph.D. in Sanskrit) สาขาวิชาภาษาสันสกฤต,
Banaras Hindu University, Varanasi, India, พ.ศ. ๒๕๔๐
ประวัติการทำงานวิชาการ
– อาจารย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
(พ.ศ. ๒๕๓๗-๒๕๔๓)
– ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
(พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๙)
– รองศาสตราจารย์ ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
(พ.ศ. ๒๕๔๙-ปัจจุบัน)
ประวัติการทำงานบริหาร
– ตำแหน่ง รองหัวหน้าภาควิชาภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
(พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๔)
– ผู้อำนวยการศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วาระที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๔๔-๒๕๔๘)
– ผู้อำนวยการศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วาระที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๒)
– ผู้อำนวยการศูนย์สันสกฤตศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วาระที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘)
ผลงานวิชาการ
งานวิจัย
– การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทของพระมหาเมาทคัลยายนะกับพระมาลัยในคัมภีร์
พระพุทธศาสนา, ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจากกองทุนวิจัยและสร้างสร้างสรรค์ คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยลปากร, พ.ศ. ๒๕๕๙.
หนังสือ
– ภาษาบาลี ๑, กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๑.
– มหากาพย์เสานทรนันทะ (แปล), กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
– มหากาพย์พุทธจริต (แปล), กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗.
– มหาวัสตุอวทาน เล่ม ๑ (แปล), กรุงเทพฯ: มูลนิธิสันสกฤตศึกษาในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, ๒๕๕๓.
– มหาวัสตุอวทาน เล่ม ๒ (แปล), กรุงเทพฯ: มูลนิธิสันสกฤตศึกษาในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, ๒๕๕๗.
– มหาวัสตุอวทาน เล่ม ๓ (แปล), กรุงเทพฯ: มูลนิธิสันสกฤตศึกษาในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, ๒๕๖๑.
บทความ
– “Asvaghosha’s World of Simile as reflected in Saundarananda and
Buddhacarita”, a Paper presented at the 14th World Sanskrit Conference
(14th WSC), 1st-5th September, 2009, Kyoto, JAPAN.
– “Hell and Heaven in the Mahavastu Avadna”, a Paper presented at the 15th
World Sanskrit Conference (15th WSC), 5th-10th January, 2012, New Delhi,
INDIA.
ความเชี่ยวชาญ
– ภาษาบาลี, ภาษาสันสกฤต และพระพุทธศาสนา
เกียรติคุณที่ได้รับ
ศิษย์เก่าดีเด่น ประจำปี ๒๕๕๑ จากสมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในฐานะผู้ทำคุณประโยชน์แก่ส่วนรวมและมีผลงานโดดเด่น
รวมทั้งมีความก้าวหน้าในสาขาอาชีพ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
– ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) พ.ศ. ๒๕๕๓
– ประถมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) พ.ศ. ๒๕๕๖