ศาสตราจารย์สุกัญญา สุจฉายา

ภาคีสมาชิก  แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒  สาขาวิชาวรรณกรรมพื้นบ้าน ประเภทวิชาวรรณศิลป์  สำนักศิลปกรรม

ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา

                    –   กรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์วัฒนธรรมไทย

ประวัติการศึกษา

               –   ปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๑๙)

               –   ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๒๒)

ประวัติการทำงานวิชาการ

                    –   ศาสตราจารย์ สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                
  ผู้พิพากษาสมทบศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ รุ่น ๙
                        (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)

                    –   หัวหน้าโครงการวิจัยชุดวิจัย วรรณกรรมตำราเพศศาสตร์ของคนไทยภาคกลาง :
                    ไขความลับเป็นความรู้
ทุนวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (กำลังดำเนินการ)

                    –   ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการอำนวยการขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของ
                        ชาติ กระทรวงวัฒนธรรม

                    –   คณะกรรมการวรรณคดีแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี

                    –   คณะกรรมการบริหาร โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนในพระราชประสงค์
                        พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว(ประธานอนุกรรมการวิชาการสาขาสังคมศาสตร์)

                    –   คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์พื้นฐานวัฒนธรรมไทย ราชบัณฑิตยสภา

                    –   ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
                        กรุงเทพมหานคร

                    –   คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขึ้นทะเบียนมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม กรมส่งเสริม
                        วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม  สาขาความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล และสาขา
                        วรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม (พ.ศ. ๒๕๕๔-
                        ปัจจุบัน)

                    –   คณะผู้ทรงคุณวุฒิ ชุดโครงการทุนวิจัยที่มุ่งเป้าตอบสนองความต้องการในการพัฒนา
                        ประเทศ ด้านมนุษยศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ (ร่วมระหว่างคณะกรรมการ
                        วิจัยแห่งชาติและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย)

ผลงานวิชาการ

                 ตัวอย่างผลงานหนังสือวิชาการ / ตำรา

                     –   สำรับอาหารไทยจากบ้านสู่วัง. สุกัญญา สุจฉายา. บรรณาธิการและผู้เขียน. กรุงเทพฯ :
                             กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม, ๒๕๖๑.

                     –   สารานุกรมความงามด้วยภูมิปัญญาไทย. สุกัญญา  สุจฉายา. บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ :
                             มูลนิธิสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (องค์การมหาชน),
                       
๒๕๕๙.

                     –   วรรณกรรมมุขปาฐะ . กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะ
                             อักษรศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หนังสือชุดคติชนวิทยาลำดับที่ ๑๑, ๒๕๕๖.

                     –   วรรณคดีนิทานไทย . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์บริษัทคอมเมิรเชียร์เวิรด์มีเดียจำกัด ๒๕๕๕.
                             พิมพ์ครั้งที่ ๒ : ๒๕๕๖ สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

                         –   หน่วยที่ ๕ “วรรณคดีท้องถิ่นภาคกลางในประมวลสาระชุดวิชา วรรณกรรมท้องถิ่น. 
                       
สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช  ๒๕๕๕., หน้า ๑-๑๑๕.

ตัวอย่างผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ

                         –   “เศรษฐกิจสร้างสรรค์กับการจัดการวัฒนธรรม” วารสารไทยศึกษา. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒
                             (สิงหาคม ๒๕๕๔- มกราคม ๒๕๕๕) : ๒๑๗ -๒๓๙.

                         –   “An Adaptation of Traditional Beliefs to Buddhism : A Study from Lan
                             Xang Literature” inASIAN  REVIEW 1999-2000.  Institution of Asian
                             Studies, Chulalongkorn University 2000 :1-10.

                 ตัวอย่างบทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในหนังสือ

                     –   วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติเจ้านายสตรีในสมัยสุโขทัย” ในโสรมสรวงศิรธิรางค์
                       
วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้น.กรุงเทพฯ : สำนักวรรณกรรม
                             และประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๖๐.

                         –   “พิธีขอฝนของชนชาติไท”และ “เพลงและการแสดงพื้นบ้านของชนชาติไท” ในคติชน
                       
คนไทในวัฒนธรรมข้าว.กรุงเทพฯ : สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
                             ๒๕๖๐.

                         –   “การประยุกต์ใช้คติชนในการสร้างวัตถุมงคลในปัจจุบัน” ในเรื่องเล่าพื้นบ้านไทยในโลก
                       
ที่เปลี่ยนแปลง.
ศิราพร ณ ถลาง (บรรณาธิการ). ๖๙-๑๕๕. เอกสารวิชาการลำดับ
                             ที่ ๑๐๙. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), ๒๕๕๘.

                         –   “Myth as Supportive Evidence for Chicken Domestication” inChickens
                             and humans in Thailand : their multiple relationships and
                        
domestication
. Honorary editors: H.R.H. Princess Maha Chakri Sirindhorn,
                             H.I.H. Prince Akishinonomiya Fumihito, Bangkok: The Siam Society under
                             Royal Patronage, ๒๐๑๐ : ๒๑๘-๒๔๙.

ฯลฯ

เกียรติคุณที่ได้รับ

                    –   นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี ๒๕๕๘ จากคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
                    –   ผู้สนับสนุนการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติดีเด่น พ.ศ. ๒๕๕๘ จาก
                        คณะกรรมการวันอนุรักษ์มรดกไทย กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม
                    –   รางวัลศิลปาธร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๘ กรมส่งเสริม
                        วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
                    –   ครูภาษาไทยดีเด่นด้านคติชนวิทยา (รางวัลศาสตราจารย์กุหลาบ  มัลลิกะมาส)
                        ของสมาคมครูภาษาไทย พ.ศ. ๒๕๕๑

                    –   ครูภาษาไทยดีเด่นระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖