พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี  สุรเตโช)

ราชบัณฑิต   โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๙  สาขาวิชาตันติภาษา ประเภทวิชาวรรณศิลป์  สำนักศิลปกรรม

ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา

                    –   นายก                    วาระ (พ.ศ. … – พ.ศ. …)

                    –   อุปนายกคนที่ ๑        วาระ (พ.ศ. … – พ.ศ. …)

                    –   อุปนายกคนที่ ๒        วาระ (พ.ศ. … – พ.ศ. …)

                    –   ประธานสำนัก           วาระ (พ.ศ. … – พ.ศ. …)

                    –   เลขานุการสำนัก        วาระ (พ.ศ. … – พ.ศ. …)

                    –   ราชบัณฑิตที่ปรึกษา   วาระ (พ.ศ. … – พ.ศ. …)

                    –   ประธานกรรมการ, กรรมการ, ที่ปรึกษา ในคณะ…………….. (พ.ศ. … – พ.ศ. …)

ประวัติการศึกษา

                    –   ประโยค ป.ธ. ๙ (พ.ศ. ๒๕๑๕)

ผลงานวิชาการ

                    ประเภทธรรม-ธรรมประยุกต์
                    พระในบ้าน, หน้าที่ของตน, คำพ่อคำแม่, พุทธธรรม ๕ นาที, ๑ นาทีเพื่อชีวิต,
                    ไขข้อข้องใจ, ธรรมสารทัศน์, ธรรมสารทีปนี, ศีล ๕ รักษาโลก

                    ประเภทวิชาการ-คู่มือ
                    หลักการแต่งฉันท์ภาษามคธ ชั้น ป.ธ. ๘, คู่มือแต่งไทยเป็นมคธ ชั้น ป.ธ. ๙,
                    คู่มือการศึกษาบาลี เล่ม ๑-๔, คลังธรรม เล่ม ๑-๓, แนวปฏิบัติศาสนพิธี,
                    ชาดกในธรรมบท, ขุมปัญญาจากชาดก, การเรียนรู้พระพุทธพจน์

          ประเภทเทศนา
          ธรรมสารเทศนา เล่ม ๑-๒, กิร ดังได้สดับมา เล่ม ๑-๓, เทศน์ : การเผยแผ่ที่สำคัญศักดิ์สิทธิ์,
          หลักและวิธีการเทศน์, การตีความพุทธศาสนสุภาษิต, ภาษาไทย ภาษาเทศน์,
          อุปมาสาธกในเทศนา

                    ประเภททั่วไป
                    นิราศจอมทอง, ข้อคิด ข้อเขียน, สมณศักดิ์ : ยศช้าง ขุนนางพระ, ภาษิตนิทัศน์,
                    ธรรมบทชีวิต, แนวปฏิบัติศาสนพิธี, ประกายความคิด

                    ประเภทพจนานุกรม
                    ภาษาธรรม, คำวัด เล่ม ๑-๕, ฉบับรวมเล่ม, ศัพท์วิเคราะห์, ภาษาชาวบ้าน,
                    พจนานุกรม ไทย-บาลี

                    ประเภทหนังสือแปล
                    คนกินคน (มหาสุตโสมชาดก), หัวใจอมตะ (วิธุรชาดก)

เกียรติคุณที่ได้รับ

                    –   พระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระศรีวิสุทธิวงศ์ (พ.ศ. ๒๕๑๙)
                    –   พระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชวิสุทธิโมลี (พ.ศ. ๒๕๒๔)
                    –   พระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพปริยัติโมลี (พ.ศ. ๒๕๓๑)
                    –   พระราชาคณะชั้นธรรม ที่ พระธรรมกิตติวงศ์ (พ.ศ. ๒๕๓๕)
                    –   พระราชาคณะ เจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ ที่ พระมหาโพธิวงศาจารย์ (พ.ศ. ๒๕๕๗)