ศาสตราจารย์พิเศษประคอง  นิมมานเหมินท์

ราชบัณฑิต   โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔  สาขาวรรณกรรมพื้นเมือง ประเภทวิชาวรรณศิลป์  สำนักศิลปกรรม

ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา

                    –   ประธานกรรมการจัดทำพจนานุกรมภาษาไทยถิ่นภาคเหนือ
                    –   ประธานกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมท้องถิ่นไทย-ภาคเหนือ
                    –   ประธานกรรมการจัดทำบทวิทยุภาษาไทยถิ่นเหนือ
                    –   กรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย
                    –   กรรมการชำระพจนานุกรม
                    –   กรรมการจัดทำวารสารราชบัณฑิตยสภาฉบับภาษาอังกฤษ
                    –   กรรมการตัดสินการประกวดแต่งหนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก
                    –   ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะคราวประชุมในคณะกรรมการการเขียนอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน

ประวัติการศึกษา

                    –   อ.บ.,อ.ม. (ภาษาไทย), อ.ด. (วรรณคดีไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                    –   M.S. (Education) Mankato State University (ปัจจุบันคือ Minnesota State
                        University, Mankato)

ผลงานวิชาการ

                    –   ประคอง นิมมานเหมินท์  “จากอุปรากรเรื่องมาดามบัตเตอร์ฟลายของปุชชินีถึงละคร
                        ซอเรื่องน้อยไจยาของล้านนา” วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๔ ต.ค.-ธ.ค. ๒๕๕๗
                    –   ประคอง นิมมานเหมินท์ “อักษรไท : มรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าและเครื่องมือสืบทอด
                        พระพุทธศาสนาของคนไท” วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย.๒๕๕๗
                    –   ประคอง นิมมานเหมินท์. ไขคำแก้วคำแพง พินิจวรรณกรรมไทย-ไท. สำนักพิมพ์
                        จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔.
                    –   ประคอง นิมมานเหมินท์. เจ้าเจืองหาญวีรบุรุษไทลื้อ ตำนาน มหากาพย์ พิธีกรรม.
                        กรุงเทพมหานคร : คราฟแมนเพรส, ๒๕๕๔.
                    –   ประคอง นิมมานเหมินท์. คำขับลูกอ่อน ภาพชีวิตและภูมิปัญญาไทลื้อในบทเพลง
                   
สำหรับเด็ก. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๓.
                    –   ประคอง นิมมานเหมินท์. นิทานพื้นบ้านศึกษา. ศูนย์คติชนวิทยาและโครงการตำรา
                        คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ ๓, ๒๕๕๑.
                    –   Prakong Nimmanahaeminda. 2012. “Tamnan Phra Chao Liap Loke”
                       
(The Legend of Buddha’s Travels Around the World.) in Skilling, Peter and
                        Mcdaniel, Justin, editors. Buddhist Narratives in Asia and Beyond.Vol. II
                        The Institute of Thai Studies, Chulalongkorn University. pp.109-119.
                    –   Prakong Nimmanahaeminda. 2009. “Professor Phraya Anuman Rajdhon:
                       
Contributions to the Study of Folklore and Folk Life.” The Journal of the
                        Royal Institute of Thailand. Vol. I, 5 December 2009. pp. 21-36.
                    –   Prakong Nimmanahaeminda. 2007. “The Way of Life and Literature of the
                       
Tai Khamti of the Lohit Riverine in Arunachal Pradesh.” Indo-Thai
                        Historical and Cultural Linkages. New Delhi: Manohar,. pp. 145-156.
                    –   Prakong Nimmanahaeminda. 2005. “Water-Lore: Thai-Tai Folk Beliefs and
                       
Literature.” Manusya Journal of Humanities, Folklore, Folklife, Folk
                        Literature. Special Issue, No.9. 2005. pp. 27-39.

เกียรติคุณที่ได้รับ

                    –   เหรียญเงินดิเรกคุณาภรณ์
                    –   ปูชนียบุคคลด้านภาษาไทย กระทรวงวัฒนธรรม (พ.ศ. ๒๕๕๒)
                    –   บุคคลดีเด่นแห่งชาติ สาขาเผยแพร่เกียรติภูมิไทย จากสำนักงานเอกลักษณ์แห่งชาติ
                        (พ.ศ. ๒๕๕๐)
                    –   นิสิตเก่าอักษรศาสตร์ดีเด่น จากสมาคมศิษย์เก่าคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
                        มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๕๐)
                    –   เกียรติบัตรผู้มีคุณูปการต่อการอนุรักษ์วรรณกรรมท้องถิ่น กระทรวงวัฒนธรรม
                        (พ.ศ. ๒๕๔๖)
                    –   รางวัลพระเกี้ยวทองคำ จากคณะกรรมการรณรงค์เพื่อภาษาไทย  จุฬาลงกรณ์
                        มหาวิทยาลัย ประจำ พ.ศ. ๒๕๔๓-๒๕๔๔
                    –   ครูภาษาไทยดีเด่นระดับอุดมศึกษา กรุงเทพมหานคร (พ.ศ. ๒๕๓๕)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์           มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก