ศาสตราจารย์พรรัตน์  ดำรุง

ภาคีสมาชิก  แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑  สาขาวิชานาฏกรรม  ประเภทวิชาวิจิตรศิลป์ สำนักศิลปกรรม

ประวัติการศึกษา

                        – อักษรศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๑๙)
                        – M. Ed Northwestern State University of Louisiana สหรัฐอเมริกา (พ.ศ. ๒๕๒๑)
                        – ประกาศนียบัตร การจัดการทางศิลปะ จาก New York University สหรัฐอเมริกา
                          (พ.ศ. ๒๕๔๓)

ประวัติการทำงานวิชาการ

                    ศาสตราจารย์วิจัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผลงานวิชาการ

                    –   วิจัยการแสดง : สร้างสรรค์งานวิจัยในสาขาศิลปการแสดงไทยร่วมสมัย ทุนเมธีวิจัยอาวุโส
                        สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

                    –   งานวิจัยสร้างสรรค์ทางศิลปะการแสดง : แนวคิดและกลวิธีวิจัยแบบปฏิบัติการ ทุนวิจัย
                        คณะอักษรศาสตร์ – ลังกาสิบโห : ขับขานคุณธรรมในรามเกียรติ์ไทลื้อ โครงการวิจัย
                        ก้าวหน้าจากรากแก้ว ทุนวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย- กรายท่า : การสร้าง             งานร่วมสมัยจากท่ารำโนรา ทุนวิจัยสำนักศิลปะร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม

                    –   สีดา-ศรีราม โครงการวิจัย เรื่องเก่าเล่าใหม่ ทุนวิจัยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

                    –   ละครประยุกต์ : การใช้ละครเพื่อการพัฒนา
                    –   กลับบ้านเรา : ผู้หญิงสองคนเขียนถึงสาวน้อยที่จากไป
                    –   การละครสำหรับเยาวชน

                    –   “ศิลปะการแสดง” ใน ดนตรีและศิลปะการแสดง หนังสือศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยใน
                        ประเทศไทย. น. ๑๒๓-๑๒๙. พ.ศ. ๒๕๕๙

                    –   “Cambodians Dancing beyond Borders: Three Contemporary Examples,” in
                        Beyond the Apsara: Celebrating Dance in Cambodia. Stephanie Burridge
                        and Fred Frumberg, eds. New Delhi: Routledge India. pp. 61-85. 2008.

                    –   “From Preserving National Forms to Reviving Traditions for the World:
                        Some Recent Uses of Classical Dance from Mainland Southeast Asia,” in
                        Urmimala Sarkar Munsi, ed. Dance: Transcending Borders. New Delhi: Tulika
                        Books. pp. 20-35. 2008.

                    –   “Independent Dance Identities on the Loose: Some Mainland Southeast
                        Asian Ways of Using Traditional Sources to Shape Distinctive Artistic Lives,”
                        in Independence and Identity: Topics in Dance Studies edited by Mohd
                        Anis Md. Nor & Joseph Gonzales. ASWARA. Kuala Lumpur, Malaysia. pp.
                        63-81

                    –   “Translation and Making Meaning in Thai Khon Performance,” in Jennifer
                        Lindsay, ed., Between Tongues: Translation and/of /in /Performance in
                        Asia, National University of Singapore Press.

                    –   บทความ ๑๖ เรื่องที่เกี่ยวข้องกับศิลปะการแสดงแบบประเพณี ใน Encyclopedia of
                        Asian Theatre, Samuel L Leiter, ed. Greenwood Press

                 งานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ/นานาชาติ

                    –   “พลวัตของการละครและการแสดงศึกษาสู่การเกิดงาน “วิจัยการแสดง”. วารสารศิลป์
                        ปริทัศน์. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑
                        มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๑

                    –   “การปฏิบัติงานและคุณค่าของ “วิจัยการแสดง” สำหรับนักวิชาการด้านการละคร/
                        การแสดงในมหาวิทยาลัย”. วารสารดนตรีและการแสดง. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม-
                        ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

                    –   Tai-Lue Performance in Contemporary Thailand: Devising a Local Ramayana
                        Tale for Today’s Diverse Audiences. Malaysian Journal of Performing and
                        Visual Arts , v. 2, n. 1, p. 8-24, Dec.2016.
                    –   “ลังกาสิบโห : ขับขานคุณธรรมในรามเกียรติ์ไทลื้อ”. วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ ๒๑
                         ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

                    –   “Making Partnerships with Common Roots: Two New Ways of Combining
                        Classical Dance Traditions in Mainland Southeast Asian Performances,”
                        Manusya: Journal of Humanities, Bangkok, Thailand 2012.

                    –   “On Surviving Anthropocentric Modernity: Preliminary Thoughts on
                        Transcending Endangered Environments for Monkey-Dancers and Macaque
                        Monkeys in Mainland Southeast Asia,” FOCAS: Forum On Contemporary
                        Art & Society –Documenta Magazine 2007

เกียรติคุณที่ได้รับ         –        เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
          –         อาจารย์ดีเด่นสาขามนุษยศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ของประธาน
                    สภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย
          –         ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศิลปะการแสดง จากมหาวิทยาลัยบูรพา
                    (พ.ศ. ๒๕๕๗)