ภาคีสมาชิก แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ สาขาวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ ประเภทวิชาวรรณศิลป์ สำนักศิลปกรรม
ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา
กรรมการดำเนินงานเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของราชบัณฑิตยสภา
ประวัติการศึกษา
– อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๑๖ )
– อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาและวรรณคดีไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(พ.ศ. ๒๕๒๑)
– อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (วรรณคดีไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๓๐)
– Ph.D.( Comparative Literature) University of Michigan-Ann Arbor (พ.ศ. ๒๕๓๕)
ประวัติการทำงานวิชาการ
– อาจารย์พิเศษ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– ผู้เชี่ยวชาญประจำหลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะสังคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
– นายกสมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
– รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
– ผู้อำนวยการศูนย์วรรณคดีศึกษา คณะอักษรศาสตร์ (พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๕๘)
– ผู้อำนวยการสถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๔๙)
ผลงานวิชาการ
ตำราและหนังสือ
– ตรีศิลป์ บุญขจร. (บรรณาธิการ) วรรณกรรมกับความรัก อำนาจ บาดแผลและการ
เยียวยา. การเมือง. วารสารวรรณคดีเปรียบเทียบ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถุนายน
๒๕๕๘.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. (บรรณาธิการ) วรรณคดีสีเขียวและวรรณคดีนานาชาติ.วารสาร
วรรณคคดีเปรียบเทียบ ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๗.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. (บรรณาธิการ) อาเซี่ยนจากมิติวรรณกรรม: อดีตถึงยุคโลกาภิวัตน์.
กรุงเทพฯ: ศูนย์วรรณคดีศึกษา, ๒๕๕๖.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. (บรรณาธิการ) วรรณกรรมเอเชีย เอเชียในวรรณกรรม ความรัก ความ
ฝัน วาทกรรมและการเมือง. วารสารวรรณคดีเปรียบเทียบ ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๖.
งานวิจัย
– 2018 Trisilpa Boonkhachorn. Twelve Sisters: A Shared Heritage of S.E.A.
Literary Contexts Paper presented in the Symposium “Literature Film and
Culture in Southeast Asia,” organized by Center for Southeast Asian Studies,
Kyoto University and Cine Adobo, Japan March 20-23, 2018. Phnom Penh,
Cambodia & Vientiane, Laos.
– 2016. Trisilpa Boonkhachorn. Women and Buddhism in Southeast Asian
Context: A Case Study of the Roles of Myanmar Nuns in Modern Buddhist
Myanmar Society Paper presented at the 6th International Buddhist
Conference “Theravada and Buddhaghosa: Problems of Identification,
Interpretation and Continuation,” organized by Sri Lanka Association of
Buddhist Studies, Homagama, Sri Lanka, 1-3 July 2016.
– 2015. Trisilpa Boonkhachorn, A Literary Heritage of Thailand Paper
presented at ASEAN Literary Symposium: Imaging Integration, Ateneo de
Manila University, Manila, The Philippines, 26-28 สิงหาคม 2558.
– ๒๕๕๙. . ตรีศิลป์ บุญขจร. พลังชมพู: สถานภาพและบทบาทแม่ชีในสังคมเมียนมาร์
ร่วมสมัย ในการประชุมวิชาการระดับชาติ เถรวาทในเอเชียอาคเนย์ ศิลปะ สถาปัตยกรรม
และวัฒนธรรม โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ศาสตราจารย์ ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ ณ ศูนย์
มานุษยวิทยาสิรินธร ๑๙-๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๙.
– ๒๕๕๙. ตรีศิลป์ บุญขจร. สหบทและสำนึกสีเขียวใน เพลงแม่น้ำ ของ โขงรัก คำไพโรจน์
เจาะลึกกวีนิพนธ์ซีไรต์: วรรณศิลป์ ตัวตน ผู้คน วิถีเมือง-ชนบท ธรรมชาติและสังคมไทย
ยุคสื่อดิจิทัล. สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์.
– ๒๕๕๙. ตรีศิลป์ บุญขจร. ทั้งบ้าน ทั้งวังวัด เป็นศัตรู รำพันพิลาปในฐานะวรรณกรรม
อัตชีวประวัติสุนทรภู่ รูสะมิแล.
– สตรีพม่ากับพระพุทธศาสนา สถานภาพและบทบาทของแม่ชีในเมียนมาร์ (โครงการย่อยใน
โครงการวิจัยของเมธีวิจัย สกว.) กำลังดำเนินการ
– ร้อยเรื่องรักษ์ วรรณกรรมสีเขียวของไทย (กำลังดำเนินการ)
– ๒๕๕๐. ตรีศิลป์ บุญขจร. (หัวหน้าโครงการวิจัย). กระแสและแนวโน้มในวรรณกรรมไทย.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนวิจัย. พ.ศ. ๒๕๔๗-๒๕๕๐.
– ๒๕๕๐. ไฟใต้ในวรรณกรรมไทย. ทุนวิจัยคณะอักษรศาสตร์.
บทความ
– “The Development and Trends of Literary Studies in Thailand.” Journal of
Thai-Tai Studies. July-December, 2006.
– “Sriburapha’s Angels: the Development of Female Images in Sriburapha’s
Novels.” Journal of Thai-Tai Studies. July-December, 2008.
– Boonkhachorn, Trisilpa. “Changes in Thai Rural Society : A Literary
Perspective.” MANUSYA: Journal of Humanities. Special Issue, 2003.
– 2000 “The Development and Trends of Literary Studies in Thailand” The
State of Thai Studies: A Critical Survey. Granted by Thailand Research Fund.
MANUSYA: Journal of Humanities. Vol. 3. No 1. March, 2000
– “Intertextuality as a Paradigm for Literary Study in Thai Literary and Social
Contexts.” Paper Presented at the University of Sydney in the 29 th
Australasian Universities Language and Literature Association Congress,
“Remaking the Tradition: Language and Literature Studies in the Age of
Multimedia.” February 10th – 14th 1997 MANUSYA: Journal of Humanities.
Vol 1. March 1998.
– “The Unfinished Pagoda: An Epistemological Perspective on the Theory of
Intertextuality” รวมบทอ่านวรรณคดีเปรียบเทียบ กรุงเทพฯ: หน่วยวิชาวรรณคดี
เปรียบเทียบ โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๖
– “ต้นฉบับตัวเขียน : แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรม.” วารสารไทยศึกษา. ฉบับที่ ๒ กุมภาพันธ์-
กรกฎาคม, ๒๕๔๙.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. “พุทธตำนานพระเจ้าเลียบโลก: เรื่องเล่า ชนเผ่าไท.” วารสารไทยศึกษา.
ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ กุมภาพันธ์-กรกฎาคม, ๒๕๔๘.
– ตรีศิลป์ บุญขจร (บรรณาธิการ) คืออิสสรชน คือคนดี คือศรีบูรพา. คณะกรรมการ ๑๐๐ ปี
ศรีบูรพา. เมษายน, ๒๕๔๘.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. “นางฟ้าของศรีบูรพา: ภาพลักษณ์ตัวละครสตรีในนวนิยายของศรีบูรพา.”
ศิลปวัฒนธรรม. มีนาคม, ๒๕๔๘.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. “เที่ยวแดนพริบพรี สดุดีพระจอมเกล้าฯ.” เนชั่นสุดสัปดาห์. ปีที่ ๑๓
ฉบับวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน-๕ ธันวาคม, ๒๕๔๗.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. “ซีไรต์: มากกว่ารางวัลคือสายสัมพันธ์วรรณกรรมอาเซียน.” เนชั่น
สุดสัปดาห์. ปีที่ ๑๓ ฉบับวันที่ ๔-๑๐ ตุลาคม, ๒๕๔๗.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. “กลอนสวด: วรรณคดีที่โลกลืม.” เนชั่นสุดสัปดาห์. ปีที่ ๑๓, ฉบับ
วันที่ ๖-๒๒ สิงหาคม, ๒๕๔๗.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. “สองศตวรรษหมอบรัดเลย์: ผู้บุกเบิกการแพทย์และการพิมพ์แบบ
ตะวันตกในสังคมไทย.” เนชั่นสุดสัปดาห์. ปีที่ ๑๒ ฉบับวันที่ ๒๘ มิถุนายน – ๔ กรกฎาคม,
๒๕๔๗.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. “ศรีบูรพา” กับพัฒนาการนวนิยายไทย. วารสารภาษาและหนังสือ.
๓๕, ๒๕๔๗.
– ตรีศิลป์ บุญขจร. “สำนึกกวีไทยในกระแสโลกาภิวัฒน์.” ๒๕ ปีซีไรต์ รวมบทวิจารณ์
คัดสรร. กรุงเทพฯ: สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์, ๒๕๔๗.
เกียรติคุณที่ได้รับ
– ศิษย์เก่าดีเด่น คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๕๙)
– ผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น จากกระทรวงวัฒนธรรม (พ.ศ. ๒๕๕๕)
– สอบได้เป็นที่ ๑ ของรุ่น ได้รับเหรียญเงินและเสื้อครุยของคณะอักษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. ๒๕๑๖)
– รางวัลยอดเยี่ยมสาขาภาษาและวรรณคดีไทย รางวัลทุนสุภาส จันทรโภส รางวัลทุน
พระยาสุจริตธำรง (อู๊ด สุจริตกุล) รางวัลทุนพระวรเวทย์พิสิฐ รางวัลทุนประไพ เลขะวณิชย์
และรางวัลทุนวรรณสุภิณ