ภาคีสมาชิก แต่งตั้งเมื่อวันที่ ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ สาขาวิชาภาษาไทย ประเภทวิชาวรรณศิลป์ สำนักศิลปกรรม
ประวัติการศึกษา
– อ.บ. เกียรตินิยมอันดับ ๑ (ภาษาตะวันออก), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๕
– อ.ม. (ภาษาตะวันออก), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๙
– อ.ด. (วรรณคดีพุทธศาสนา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๕
ตำแหน่งสำคัญในราชบัณฑิตยสถาน/ราชบัณฑิตยสภา
- คณะกรรมการชำระพจนานุกรม (ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะคราวประชุม) (พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๔๙)
– คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมภาษาไทยปัจจุบัน (ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะคราวประชุม)
(พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๙)
– คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมโบราณศัพท์ (พ.ศ. ๒๕๔๙-ปัจจุบัน)
– คณะกรรมการจัดทำคำอธิบายถ้อยคำภาษาไทย (ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะคราวประชุม)
(พ.ศ. ๒๕๕๒-ปัจจุบัน)
– คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์ปัจจุบันภาษาไทย-ภาษาจีน (พ.ศ. ๒๕๕๓-ปัจจุบัน)
– คณะกรรมการเฉพาะกิจจัดทำเนื้อหาวิชาการด้านภาษาไทยเพื่อเผยแพร่ทางสื่อโทรทัศน์
(พ.ศ. ๒๕๕๔- ๒๕๕๔)
– คณะกรรมการจัดทำพจนานุกรมศัพท์วรรณคดีไทย (พ.ศ. ๒๕๕๔-ปัจจุบัน)
ประวัติการทำงานวิชาการ
– อาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น (พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๖)
– อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(พ.ศ. ๒๕๓๖-๒๕๕๘)
– Guest Professor in Griffith University, Queensland, Australia, 1996
ผลงานวิชาการ
ก. งานวิจัย
– Laulertvorakul, A. 2003. “Paṭhamasambodhi in Nine Languages: Their
Relation and Evolution.” Manusaya. 6 no. 1 (Mar): 11-34.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๖๑. รายงานการวิจัยเรื่อง สำนวนจีนในนิยายอิงพงศาวดาร
จีนแปล:มณีจรัสแสงจากสาครนิยายจีนซึ่งไหลสู่กุนนทีวรรณคดีไทย. กรุงเทพฯ:
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๕๙. ชินกาลมาลินีและจามเทวีวงส์:ตำนานบ้านเมือง
ล้านนา ตำนานพระศาสนาห้าพัน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.).
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๕๓. รายงานการวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์คัมภีร์ใบลานของวัด
ต้นตาล อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
– อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, ปราณี กุลละวณิชย์, วัลยา ช้างขวัญยืน, อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล
และจรัลวิไล จรูญโรจน์. ๒๕๔๘. รายงานการวิจัยเรื่องการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ของ
ไทยที่สะท้อนจากคำในภาษา. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๔๗. “สำนวนจีนในภาษาและวรรณคดีไทย.” วารสาร
อักษรศาสตร์. ปี ๓๓ ฉ.๑: ๑๖-๔๗.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๔๕ ก. “ปฐมสมโพธิสำนวนล้านช้าง.” วารสารอักษรศาสตร์.
ปี ๓๑ ฉ. ๑ (ม.ค.-มิ.ย.): ๕๔-๘๒.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๔๕ ข. “พระอินทร์กับพิณ ๓ สายและการละทิ้งทุกกรกิริยา
ของพระโพธิสัตว์.” วารสารภาษาและวรรณคดีไทย. ปีที่ ๑๙ (ธันวาคม): ๗๑-๑๑๑.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๓๗-๔๗. “คำไทย-คำเทศ: คำไทย-คำบาลีสันสกฤต.” วารสาร
ภาษาและวรรณคดีไทย. ปี ๑๑ (๒๕๓๗): ๑๓๙-๔๖, ปี ๑๒ (๒๕๓๘ ก): ๑๓๓-๙, ปี ๑๓
(๒๕๓๙): ๒๑๙-๒๔, ปี ๑๔ (๒๕๔๐): ๑๘๖-๙๓, ปี ๑๕ (๒๕๔๑): ๒๒๔-๓๕, ปี ๑๖
(๒๕๔๒): ๒๖๙-๘๓, ปี ๑๗ (๒๕๔๓): ๒๒๗-๕๗, ปี ๒๑ (๒๕๔๗): ๑๘๕-๙๕.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๓๘ ข. “ลักษณะศัพท์บัญญัติที่สร้างขึ้นจากคำบาลีสันสกฤต.”
ใน อายุ-บวร. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง: กรุงเทพฯ, หน้า ๑๔๗-๖๔.
ข. ผลงานวิชาการ
– Laulertvorakul, A. (in press) The Cāmadevīvaṃsa and the Concept of
Dhammikarājā. Bangkok: The Royal Institute.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๖๐ “ภูตสังขยา: ศัพท์แทนจำนวนในวัฒนธรรมภาษา
สันสกฤต” ใน คือรัตนะประดับนภา. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, หน้า ๒๐๓-๓๖
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล, บรรณาธิการ. ๒๕๕๙. แบบเรียนรายวิชา ๒๒๐๑๓๒๗ การเขียน
ภาษาไทยเพื่อวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: พรรณีพริ้นติ้ง.
– วิจิตน์ ภาณุพงศ์, ราตรี ธันวารชร, อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ และ อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล.
๒๕๕๔ ก. หนังสืออุเทศภาษาไทย ชุด บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม ๓ คำ ชนิดของคำ
วลี ประโยค และสัมพันธสาร. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๕๔ ข. “ซ้าย-ขวา: ความเชื่อ” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย
ภาคกลาง (ฉบับเพิ่มเติม) เล่ม ๑: ๓๐๐-๑๓.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๕๔ ค. “อักษรขอม” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง
(ฉบับเพิ่มเติม) เล่ม ๓: ๑๒๓๒-๗.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๕๔ ง. “จามเทวีวงส์” ใน นามานุกรมวรรณกรรมล้านนา.
กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), หน้า ๕๔-๗.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๕๔ จ. “ชินกาลมาลินี” ใน นามานุกรมวรรณกรรมล้านนา.
กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), หน้า ๙๓-๖.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๕๔ ฉ. “๖ วาทกรรม ทำเมืองไทยไม่น่าอยู่.” ใน สร้าง
เมืองไทยให้น่าอยู่ใน ๙๙๙ วัน. เล่ม ๔. กรุงเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน, หน้า ๗๙-๙๙.
– กาญจนา นาคสกุล, วัลยา ช้างขวัญยืน, วิรุฬรัตน์ ไฉนงุ้น และอนันต์ เหล่าเลิศวรกุล.
๒๕๕๓. หนังสืออุเทศภาษาไทย ชุด บรรทัดฐานภาษาไทย เล่ม ๒ คำ การสร้างคำ
และคำยืม. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๕๑. “ถอดรหัสลับทรรศนะอันเป็นอันตรายของจักรภพ
เพ็ญแข.” หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์. (๒๖ พ.ค.): ๓.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๕๐. “นันโทปนันทสูตรคําหลวง.” ใน นามานุกรมวรรณคดี
ไทย ชุดที่ ๑ ชื่อวรรณคดี. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสมเด็จพระเทพพระรัตนราชสุดา,
หน้า ๒๑๕-๒๑๖.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล และสุดา รังกุพันธ์. ๒๕๔๙. “ผู้มีบารมีนอกรัฐธรรมนูญในสายตา
ของนักอักษรศาสตร์.” ใน หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์. (https://my.diary.in.th/archives/131#more-131)
- อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๔๗. “คําย้อมสี: ลูกกวาดสีหวานผสานยาพิษ.” ใน รู้ทันภาษา
รู้ทันการเมือง. กรุงเทพฯ: ฃอคิดด้วยฅน, หน้า ๔๗-๗๑.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๔๖. “อันเนื่องด้วยคำว่า วิสัยทัศน์.” ใน นิตยสารเสนาศึกษา.
เล่ม ๖๙. ตอนที่ ๒ ( พ.ค.-ส.ค.): ๑๕-๒๖.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๔๕. “พระนาม ‘สุริโยทัย’ สะกดอย่างไร.” ใน รอบรู้
ภาษาไทย. เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: สมาคมครูภาษาไทย, ๔๘-๕๕.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๔๔ ก. ภาษาไทยนอกจอ. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ:
นานมีบุ๊คส์.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๕๔ ข. “คำยืมภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไทย” ใน
www. dcid.go.th/thaipage/a1.htm (เข้าถึงได้ ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๕)
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๔๒. “คำภาษาบาลี-สันสกฤตในประเทศไทย.” ใน สารานุกรม
ไทยภาคกลาง. เล่ม ๓: ๑๐๐๕-๙.
– วิจินต์ ภาณุพงศ์ และอนันต์ เหล่าเลิศวรกุล ๒๕๓๖. “อักษรแทนเสียงพยัญชนะของไทย
จากอดีตถึงปัจจุบัน” ด้วยกตัญญุตา. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง,
หน้า ๑๒๑-๑๔๒.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. ๒๕๓๓. “วันคาร: ความสนุกสนานที่ปรุงรสขึ้นจากรามเกียรติ์”
วารสารภาษาและวรรณคดีไทย. ๗ (เมษายน): ๔๓-๔๘.
– อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล. 2001. “ลักษณะของภาษาไทย.” ในOxford-River Books:
English-Thai Dictionary. Bangkok: Oxford University Press, หน้า 1041-58.
เกียรติคุณที่ได้รับ
– ๒๕๔๗ รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่นสาขาปรัชญา สภาวิจัยแห่งชาติ จากวิทยานิพนธ์เรื่อง
ปฐมสมโพธิกถาภาษาไทยฉบับสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส :
ความสัมพันธ์ด้านสารัตถะกับวรรณกรรมพุทธประวัติอื่น – ๒๕๕๗ รางวัลงานวิจัยระดับดีสาขาปรัชญา สภาวิจัยแห่งชาติ จากงานวิจัยเรื่อง ชินกาล
มาลินีและจามเทวีวงส์ : ตำนานบ้านเมืองล้านนา ตำนานพระศาสนาห้าพัน